MEKONG FESTIVAL:
a reach as long as the river
written by Pawit Mahasarinand
published in THE NATION on Sunday, November 15, 2009
The Philippine Educational Theatre Association extends its aid to nurture far-flung arts groups and address their social challenges.
Theatre can entertain—and it can also foment change in society. In fact, if theatre's sole purpose were entertainment, it would not have survived the advent of film and television.
Witness the Mekong Arts and Media Festival “Weaving Cultures, Weaving Visions” from November 23 to 27 in Phnom Penh.
Arts groups in the Mekong region have benefited in recent years from funding and workshops organised by the Philippine Educational Theatre Association (PETA), whose Mekong Partnership Project supports initiatives aimed at social transformation.
Considered as the wrap-up event for the first phase of PETA’s Mekong Partnership Project, the festival welcomes artists, media practitioners, cultural workers, students, drama/theatre teachers, advocates, public officials, and development workers in addition to the general public to performances, conferences, skill-building workshops, exhibits, film screenings and other events giving full rein to creative expression to address current and emerging social issues facing the people living along the Mekong River.
Don’t be surprised if you find that there is less number of local stage works here in Thailand next week. While Makhampom and representatives from various groups in the Bangkok Theatre Network are at Festival/Tokyo performing Yak Tua Dang and Sao Chaona, Thai adaptations of Japanese plays Akaoni and Nogyo Shojyo, three other troupes—Crescent Moon Theatre, Khandha Arts 'n Theatre and Wandering Moon Performing Group and Endless Journey—will be in the Cambodian capital presenting works created with PETA grants.
Sineenadh Keitprapai, artistic director of Crescent Moon and recipient of the Silpathorn Award in 2008, tells us that her company has worked with PETA for decades.
“Before the Mekong Partnership Project started, PETA asked me to be a Thai coordinator when they came in to conduct research on performing arts groups in Thailand. Then, I joined the 2nd Mekong Performing Arts Laboratory in 2006 in Hanoi, along with fellow actresses Farida Jaruphand, Jarunun Phatachat, and Suwandee Suanpholrat.”
Purgatory
A result is a collaborative work of the four veteran thespians that was later developed, again with the grant from the Project, into physical theatre production dealing with women-related issues Purgatory (or in Thai title Fai Lang Bap), that was later staged at Bangkok Theatre Festival 2007 and toured to 10 universities, and will be restaged next month at the Crescent Moon Space in the Pridi Banomyong Institute in Soi Thonglhor.
“Before each performance, we talked to our audience, asking them what each and everyone of them think of themselves, how others look at them, and what they want to be in the future, and then present these through images. After the performance, which was while strictly issue-oriented, presented in a somewhat satirical and comic tone, we talked to them again openly, and the conversations went back to the images they drew at the start. One audience, in the presence of their friends, told us that she once got so depressed that she was considering suicide, and that the performance gave her much moral support. This is beyond our expectation.”
They will restage Purgatory at the festival, with one cast change, as Jarunun will be in Tokyo performing Sao Chaona.
Monthatip Suksopha's Chiang Mai-based shadow-puppet troupe Wandering Moon was invited to perform Butterfly at the 2004 Asia-Pacific Women's Festival, its first venture overseas.
“It’s a great exposure for us. The audience there loved our work and we’re offered grants by many organizations,” says Monthatip.
The Mekong Partnership Project blossomed soon after that, and Wandering Moon has played different roles in its annual laboratories ever since.
"The first one in Manila, we’re artists, then in the second and third in Hanoi and Cambodia, we’re facilitators, then we co-hosted the fourth one last year. While the overall theme of these labs centers on gender issues in the Mekong sub-region, the highlighted performance style differs from one to another, depending on the host companies’ interests and strengths—like the focus on puppetry in our lab last year.”
"We've learned a lot and developed a great deal—not only in artistic skills but also organisational and managerial ones. I think this collaboration and journey [with PETA] works effectively partly because we share a lot in common and have a good chemistry, of course there’ve been some obstacles and problems along the way, like any other journey.”
Wandering Moon will present its new work, Reborn of the Butterfly, in Phnom Penh.
"It's slightly different from the two works that were supported by the project, The Untold Story and Forgotten Memory, both of which were continuations of Butterfly," Monthatip says.
Forgotten Memory
"Many people now think we only work on gender issues. Well, we're an all-women troupe, but we work on other issues [outside of the Mekong Project] as well.”
"In Reborn, we're taking a more neutral view and looking at the relationship between men and women as yin and yang—instead of merely strictly women-related issues, like abortion in Forgotten Memory."
Butoh-trained performer and director Sonoko Prow, artistic director of Khandha Arts 'n Theatre, participated in the third Mekong Performing Arts Laboratory in 2007.
"During those three weeks in three cities I learned that advocacy wasn't as scary as I'd thought. When we want to change something or someone, we should start by studying ourselves - and conducting thorough research into the real situation."
Sonoko's Maenam, a final showcase in the 2007 lab, recruited residents of Battambang for the cast of a piece dealing with AIDS. It fuelled a larger production called For Little Less Noise: Maenam the following year, which was also supported by the project.
For Little Less Noise: Maenam
Maenam was presented at Patravadi Theatre and Chiang Mai and Mae Fah Luang universities, along with workshops on both the content and the performance style.
"The reactions varied at different venues," Sonoko says. "In Chiang Rai, where we performed to about 1,500 audiences, partly because we had a slide show explaining Butoh, the performance moved some viewers to tears. In Bangkok most people saw it in terms of production values, concentrating more on the movement than the issues."
PETA's Mekong Partnership Project, she says, has helped the troupe "continuously develop our artistic skills and creation process in the past two years".
“Some members of the troupe even told me the process changed their personalities.”
"Plus, the audience is exposed to a new style of performance and new social issues. Some people, like HIV patients, realise they can actually do more than they think, and that's similar to what our members have felt through this self-realisation process."
Khandha Arts 'n Theatre will perform For Little Less Noise: Maenam at the Mekong Festival.
The festival is a PETA’s collaboration with Phare Ponleu Selpak, Save the Children UK's Cross Border Project and the Centre for Community Health Research and Development.
Funding comes from the Rockefeller Foundation, European Union, Japan Foundation, Heinrich Boell Foundation-Southeast Asia, Terres des Hommes and Ambassade au France de Cambodge.
How does PETA, an organisation based in the Philippines—outside the Mekong region—secure grants from America and Europe?
“I was wondering about that too," Sonoko laughs. "I guess it's partly because they're well established, with more than three decades in this field, and can communicate very efficiently in English."
"Plus, since they're also artists, they understand their fellow artists like us from Thailand."
The Mekong Festival of Arts and Media is from November 23 to 27 in Phnom Penh. Get the details at www.Mekong-ArtsFest2009.com.
For more information about the participants, see www.PETATheater.com, www.CrescentMoonTheatre.com, www.KhandhaArts.org and www.WanderingMoonTheatre.com
Thanks to a grant from Save the Children (UK), the writer has been invited to the festival as a scholar/journalist. More articles will soon be published in The Nation.
--------------------------------------------------------------------------------
written by Pawit Mahasarinand
published in THE NATION on Sunday, November 15, 2009
photos courtesy of Crescent Moon Theatre, Wandering Moon Performing Group and Endless Journey; and Khandha Arts 'n Theatre.
information from:
http://blog.nationmultimedia.com/danceandtheatre/2009/11/17/entry-1
Sunday, 22 November 2009
Saturday, 21 November 2009
ละครเวทีเรื่อง “ไฟล้างบาป” ในงาน Mekong Arts and Media Festival 2009
พระจันทร์เสี้ยวการละคร จะนำผลงานละครเกี่ยวกับผู้หญิงเรื่อง “ไฟล้างบาป” ไปร่วมแสดงในงานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 ที่กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ในวันที่ 23-27 พฤศจิกายนนี้
ละครเรื่องนี้สร้างสรรค์และแสดงโดยนักละครหญิง 4 คน คือ สินีนาฏ เกษประไพ, สุมณฑา สวนผลรัตน์, ฟารีดา จิราพันธ์ และ จารุนันท์ พันธชาติ เนื้อเรื่องพูดถึงชีวิตหลังความตายของผู้หญิงสามคน ที่บังเอิญไปเจอกันในที่แห่งหนึ่งที่พวกเธอก็ไม่รู้แน่ชัดว่าเป็นที่ไหน หลังจากการพูดคุยกัน พวกเธอจึงร้องเรียกหาเจ้าแห่งโลกหลังความตาย ให้ออกมาตัดสินว่าพวกเธอจะต้องทำอะไร หรือต้องไปที่ไหน
ละครเรื่องนี้แสดงครั้งแรกในงาน Mekong Performing Arts Laboratory 2006 ที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม กลับมาแสดงที่เทศกาลละครกรุงเทพ 2006 และออกทัวร์แสดงใน 10 มหาวิทยาลัย ในกรุงเทพ และต่างจังหวัด
การแสดงในครั้งมีการเปลี่ยนแปลงตัวนักแสดงจาก จารุนันท์ พันธชาติ เป็น ศรวณี ยอดนุ่น เนื่องจากจารุนันท์ติดงานแสดงละครเรื่อง “สาวชาวนา” ที่โตเกียว หลังจากเดินทางกลับมาจากกัมพูชา “ไฟล้างบาป” จะเปิดการแสดง 5 รอบ ที่ละครโรงเล็ก Crescent Moon Space ในวันที่ 3-7 ธันวาคมนี้ รอบเวลา 19.30 น.
งานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 เป็นโครงการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรม, ละคร, การแสดง, หนังสั้น, และการประชุมเชิงปฏิบัติการของศิลปินนักการละครในประเทศลุ่มน้ำโขง งานนี้จัดโดยหลายองค์กร ได้แก่ the Philippine Educational Theater Association’s Mekong Partnership Project, Phare Ponleu Selpak,Save the Children UK, and Center for Community Health Research & Development.
โทรสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่
083 995 6040
083 995 6040
E-mail: crescentmoon_theatre@yahoo.com
ดูเพิ่มเติมที่ http://www.crescentmoontheatre.com/
เก็บตกข่าว อ่านสันติภาพ
อ่านสันติภาพ
ในมุมมองของนักการละคร
โดย : คุณหนอนฝึกหัด
“ไม่มีสุ้มเสียงจากหนังสือ...
นอกเสียจากความอึกทึกทางปัญญา”
ในมุมมองของนักการละคร
โดย : คุณหนอนฝึกหัด
“ไม่มีสุ้มเสียงจากหนังสือ...
นอกเสียจากความอึกทึกทางปัญญา”
บ้างก็ว่าเป็นไปเพื่อยุติความขัดแย้ง บ้างก็เพื่อผลประโยชน์ บ้างก็ว่าเพื่อเรียกร้องความเป็นธรรม ฯลฯ ก่อเกิดความพยายามที่จะหาจุดร่วมมิรู้จุดจบ
แต่แท้ที่จริงแล้ว 'สันติภาพ' คืออะไร...
เมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา 'พระจันทร์เสี้ยวการละคร' ภูมิใจเสนอ โครงการอ่านบทละคร อ่านสันติภาพ การแสดงอ่านบทละครจากมุมมองของนักการละครที่ร่วมใจมาแสดงในงานศิลปะกับสังคม 'อภิวัฒน์สู่สันติ' ในวาระครบรอบ 110 ปี รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ณ Crescent Moon Space สถาบันปรีดี พนมยงค์
บทละครที่นำมาใช้แสดงในครั้งนี้ คัดสรรมาทั้งจากงานวรรณกรรมที่เป็นบทกวีหรือเรื่องสั้น บทเพลงในภาพยนตร์ คำสอนทางศาสนา ฯลฯ รวมทั้งหมด 12 เรื่อง ได้แก่ แพะในหมู่บ้าน โดย สายฟ้า ตันธนา, You Must Love Me โดย วสุรชต อุณาพรหม, จานบิน โดย วรัญญู อินทรกำแหง, นางนวลกับมวลแมว ผู้สอนให้นกบิน โดย ผดุงพงศ์ ประสาททอง, อัสลาม โดย ฟารีดา จิราพันธุ์ และคอลิด มิดำ, Einstein quotes โดย ดุจดาว วัฒนปกรณ์, บ้านที่แท้จริง โดย จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ และประภัสสร จันทร์สถิตพร, ข่าวที่บรรณาธิการขว้างทิ้ง โดย วิชย อาทมาท, วันหนึ่งในคืนฤดูหนาว โดย สุกัญญา เพี้ยนศรี, เพชรฆาต โดย ภาวิณี สมรรคบุตร, ฝูงมนุษย์ โดย ไพบูลย์ โสภณสุวภาพ และ ความว่าง โดย กมลภัทร อินทรสร
ก่อนการแสดงเริ่ม สินีนาฏ เกษประไพ นักการละครและผู้กำกับจากกลุ่มพระจันทร์เสี้ยวการละคร เกริ่นถึงการอ่านบทละครว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญเวลาที่ต้องจัดทำหรือซ้อมละครเรื่องหนึ่งๆ หลายต่อหลายครั้งต้องอาศัยการเคลื่อนไหว การเดิน เพื่อส่งพลังให้ผู้ชมรับรู้ถึงความหมาย และมีความรู้สึกร่วมไปด้วย เธอกล่าวต่อไปว่าในตอนแรกที่เอ่ยชวนเพื่อนพี่น้องในวงการการละครมาอ่านสันติภาพนั้น ยังมีความกังวลว่าจะมีใครตอบรับมาร่วมแสดงด้วยหรือไม่ เพราะคำว่าสันติภาพนี้ดูจะเป็นเรื่องไกลเกินตัวเราอยู่ไม่น้อย แต่เมื่อมีการตอบรับและซ้อมบทละครร่วมกัน จึงเห็นว่าจริงๆ แล้วแต่ละคนต่างก็ตีความของคำว่า 'สันติภาพ' ออกมาได้หลากหลายมุม...
บ้านที่แท้จริง
"ถึงแม้ว่าไฟมันจะไหม้บ้านของเราก็ตาม ถึงแม้ว่าน้ำมันจะท่วมบ้านของเราก็ตาม อย่าให้มันไหม้หัวใจของเรา อย่าให้มันท่วมหัวใจของเรา"
การผสมผสานหนังสือธรรมะของหลวงพ่อชา สุภทฺโท และหนังสือสนทนาธรรมของท่าน ปสนฺโน ภิกขุ บอกเล่าเรื่องราวของ 'เจ-จาตุรันต์ ศิริพงษ์' นักโทษประหารคนไทยในสหรัฐ ที่ถูกจับเมื่อปี 2526 ด้วยข้อหาปล้นร้านการ์เด็น โกรฟ มาร์เก็ต (Garden Grove Market) และฆ่าเจ้าของร้านและผู้ช่วย เจรับสารภาพว่าร่วมในการปล้นแต่ไม่ได้ฆ่า แต่เนื่องจากเขาไม่ยอมซัดทอดผู้อื่น ศาลจึงพิพากษาและตัดสินประหารชีวิต ตลอดระยะเวลา 16 ปีในความพยายามยื่นเรื่องอุทธรณ์เพื่อให้ศาลกลับคำตัดสิน แต่ในที่สุดการประหารก็ถูกกำหนดขึ้นในวันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2542
ก่อนถึงวันประหาร 6 วัน เพื่อนซึ่งเป็นทนายความของเจได้ติดต่อขอความอนุเคราะห์ไปยังวัดป่าอภัยคีรี เมืองซานฟรานซิสโก เพื่อให้เจมีโอกาสได้พบกับชาวพุทธซึ่งสามารถจะเป็นที่พึ่งทางใจให้กับเขาได้ สองวันต่อมาพระอาจารย์ปสนฺโน เจ้าอาวาสวัดป่าอภัยคีรี ก็ได้เข้าเยี่ยมและอบรมกรรมฐานให้กับเจ ในเรือนจำซาน เควนติน มลรัฐแคลิฟอร์เนีย
"...ตลอดเวลานับตั้งแต่อาตมาได้พบเจ จนกระทั่งถึงวันประหารเป็นเวลาสามวันนี้ อาตมาได้ตอบข้อสงสัย ข้อข้องใจของเจ โดยเฉพาะเรื่องอนัตตา เรื่องขันธ์ 5 และการปล่อยวาง และในคืนสุดท้าย อาตมาก็ได้ฝึกเขาในการทำจิตให้มั่นคง พร้อมที่จะรับความตายโดยไม่หวั่นไหว
...เรายังได้พูดถึงการปล่อยวาง ในความหมายที่เชื่อมโยงถึงการ 'การให้อภัย' และ 'อนัตตา' ถ้าเราไม่ให้อภัยคือเรายังยึดทุกข์ไว้ เราก็จะสร้างตัวตนขึ้นบนความทุกข์เรื่อยไป ไม่มีที่สิ้นสุด เมื่อเกิดมีตัวตนขึ้นเมื่อไร ทุกข์ก็เกิดขึ้นเมื่อนั้น มันเกี่ยวพันกันอยู่อย่างนี้ ถึงตอนนี้แล้วอาตมาก็ถามเจขึ้นมาว่า 'ยังมีใครอีกบ้าง ที่เจยังไม่ได้ให้อภัย' เจนั่งคิดอยู่ครู่หนึ่ง ก่อนจะตอบค่อยๆ ว่า 'ผมยังไม่สามารถให้อภัยตัวเองได้หมดใจ'
...พิธีศพมีอย่างเงียบๆ ในวันรุ่งขึ้น ทางเรือนจำนำศพเจใส่ไว้ในกล่องกระดาษ ก่อนหน้านั้นพี่สาวของเจขอดูศพ แต่ไม่ได้รับอนุญาตอาตมาไม่ทราบเรื่องนี้เลย จึงไปขอผู้อำนวยการเปิดฝากล่อง ศพของเจเปรียบได้กับครูกรรมฐานที่ให้แรงบันดาลใจอย่างมาก ใบหน้าของเขาดูสงบ ผ่องใส คล้ายมีรอยยิ้มจางๆ หลังจากประมวลเหตุการณ์ทั้งหมดแล้ว อาตมามั่นใจว่าเจไปดี"
อาจารย์กอล์ฟหรือ จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ ให้เหตุผลที่เลือกเรื่องนี้มาอ่านบทละครว่า "ตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้รับคำชวนให้มาอ่านสันติภาพก็นึกถึงหนังสือสองเล่มนี้ขึ้นมา เพราะปกติก็จะอ่านอยู่เสมอๆ เวลาที่มีความร้อนอยู่ในจิตใจหรือว่าภายในใจมันมีเรื่องเศร้าหมอง ทีนี้เวลาเราพูดถึงสันติภาพกัน เรามักจะพูดกันถึงแต่เรื่องใหญ่ๆ เลยอยากให้ลองกลับมาดูเรื่องของสันติภาพในใจว่ามันต้องเริ่มจากตัวของเรากันเองก่อน สมมติว่าจะทำอะไรบางอย่างเพื่อสังคม ถ้าเราไม่เย็นเองก่อนแล้ว สังคมก็จะเย็นตามไปด้วยไม่ได้"
และอีกนานาทัศนะของนักการละครที่ตีความถึงสันติภาพในความเห็นของตน เช่น วสุรัชต อุณาพรหม ที่เลือกสะท้อนสันติภาพผ่านบทเพลง 'You must love me' ในละครเรื่อง Evita ซึ่งเป็นบทเพลงที่สะท้อนถึงความคิดภายใน ความทรงจำ ความทะเยอทะยานที่จะมีชีวิตอยู่ โดยปรารถนาที่จะเป็นที่รักของอีวา เปรอง
เขาให้เหตุผลที่เลือกนำเสนอบทเพลงนี้ว่าจริงๆ แล้วใครฟัง you must love me ก็คงบอกว่าเป็นเพลงที่เพราะและน่าสงสาร แต่ตอนที่เขาพรินท์เนื้อออกมานั่งอ่าน เขากลับพบว่ามันมีอะไรซ่อนอยู่ในบทเพลงนี้เยอะมาก
"หลวงวิจิตรวาทการบอกไว้ว่าละครมันสร้างชาติ ...คือนักการเมืองมักจะใช้สื่อเพื่อสร้างภาพลักษณ์ ภาพที่เขาปรากฏ และเห็นทางจอทีวีหรือหนังสือพิมพ์นี้ จริงๆ แล้วไม่รู้ว่าเป็นตัวที่สร้างสันติภาพหรือทำลายสันติภาพ ตัวนักการเมือง ผู้นำ หรือตัวใครก็ตาม ผมว่าเขามีภาพเหมือนคาแรคเตอร์ในเรื่องนี้ คือเขาจะต้องรู้ตัวว่าตัวเองต้องทำยังไง ต้องมีนักสร้างสื่อที่รู้ว่าจะจับโมเมนต์หรือช่วงเวลาใดของเขาออกสู่ประชาชน"
เมื่อการอ่านบทละครสิ้นสุดลงในวันนั้น หลากความเห็นที่สะท้อนออกมาผ่านเรื่องเล่าเพื่อสื่อถึงคำว่า 'สันติภาพ' อาจไม่มีอะไรมากเกินไปกว่าให้เราหยุดพิจารณาถึงความหมายและวิธีการซึ่งแสดงออกถึงสันติภาพอีกครั้งว่า... จริงๆ แล้วอะไรคือสันติภาพอย่างแท้จริง...
แต่แท้ที่จริงแล้ว 'สันติภาพ' คืออะไร...
เมื่อปลายเดือนตุลาคมที่ผ่านมา 'พระจันทร์เสี้ยวการละคร' ภูมิใจเสนอ โครงการอ่านบทละคร อ่านสันติภาพ การแสดงอ่านบทละครจากมุมมองของนักการละครที่ร่วมใจมาแสดงในงานศิลปะกับสังคม 'อภิวัฒน์สู่สันติ' ในวาระครบรอบ 110 ปี รัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ณ Crescent Moon Space สถาบันปรีดี พนมยงค์
บทละครที่นำมาใช้แสดงในครั้งนี้ คัดสรรมาทั้งจากงานวรรณกรรมที่เป็นบทกวีหรือเรื่องสั้น บทเพลงในภาพยนตร์ คำสอนทางศาสนา ฯลฯ รวมทั้งหมด 12 เรื่อง ได้แก่ แพะในหมู่บ้าน โดย สายฟ้า ตันธนา, You Must Love Me โดย วสุรชต อุณาพรหม, จานบิน โดย วรัญญู อินทรกำแหง, นางนวลกับมวลแมว ผู้สอนให้นกบิน โดย ผดุงพงศ์ ประสาททอง, อัสลาม โดย ฟารีดา จิราพันธุ์ และคอลิด มิดำ, Einstein quotes โดย ดุจดาว วัฒนปกรณ์, บ้านที่แท้จริง โดย จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ และประภัสสร จันทร์สถิตพร, ข่าวที่บรรณาธิการขว้างทิ้ง โดย วิชย อาทมาท, วันหนึ่งในคืนฤดูหนาว โดย สุกัญญา เพี้ยนศรี, เพชรฆาต โดย ภาวิณี สมรรคบุตร, ฝูงมนุษย์ โดย ไพบูลย์ โสภณสุวภาพ และ ความว่าง โดย กมลภัทร อินทรสร
ก่อนการแสดงเริ่ม สินีนาฏ เกษประไพ นักการละครและผู้กำกับจากกลุ่มพระจันทร์เสี้ยวการละคร เกริ่นถึงการอ่านบทละครว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สำคัญเวลาที่ต้องจัดทำหรือซ้อมละครเรื่องหนึ่งๆ หลายต่อหลายครั้งต้องอาศัยการเคลื่อนไหว การเดิน เพื่อส่งพลังให้ผู้ชมรับรู้ถึงความหมาย และมีความรู้สึกร่วมไปด้วย เธอกล่าวต่อไปว่าในตอนแรกที่เอ่ยชวนเพื่อนพี่น้องในวงการการละครมาอ่านสันติภาพนั้น ยังมีความกังวลว่าจะมีใครตอบรับมาร่วมแสดงด้วยหรือไม่ เพราะคำว่าสันติภาพนี้ดูจะเป็นเรื่องไกลเกินตัวเราอยู่ไม่น้อย แต่เมื่อมีการตอบรับและซ้อมบทละครร่วมกัน จึงเห็นว่าจริงๆ แล้วแต่ละคนต่างก็ตีความของคำว่า 'สันติภาพ' ออกมาได้หลากหลายมุม...
บ้านที่แท้จริง
"ถึงแม้ว่าไฟมันจะไหม้บ้านของเราก็ตาม ถึงแม้ว่าน้ำมันจะท่วมบ้านของเราก็ตาม อย่าให้มันไหม้หัวใจของเรา อย่าให้มันท่วมหัวใจของเรา"
การผสมผสานหนังสือธรรมะของหลวงพ่อชา สุภทฺโท และหนังสือสนทนาธรรมของท่าน ปสนฺโน ภิกขุ บอกเล่าเรื่องราวของ 'เจ-จาตุรันต์ ศิริพงษ์' นักโทษประหารคนไทยในสหรัฐ ที่ถูกจับเมื่อปี 2526 ด้วยข้อหาปล้นร้านการ์เด็น โกรฟ มาร์เก็ต (Garden Grove Market) และฆ่าเจ้าของร้านและผู้ช่วย เจรับสารภาพว่าร่วมในการปล้นแต่ไม่ได้ฆ่า แต่เนื่องจากเขาไม่ยอมซัดทอดผู้อื่น ศาลจึงพิพากษาและตัดสินประหารชีวิต ตลอดระยะเวลา 16 ปีในความพยายามยื่นเรื่องอุทธรณ์เพื่อให้ศาลกลับคำตัดสิน แต่ในที่สุดการประหารก็ถูกกำหนดขึ้นในวันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ 2542
ก่อนถึงวันประหาร 6 วัน เพื่อนซึ่งเป็นทนายความของเจได้ติดต่อขอความอนุเคราะห์ไปยังวัดป่าอภัยคีรี เมืองซานฟรานซิสโก เพื่อให้เจมีโอกาสได้พบกับชาวพุทธซึ่งสามารถจะเป็นที่พึ่งทางใจให้กับเขาได้ สองวันต่อมาพระอาจารย์ปสนฺโน เจ้าอาวาสวัดป่าอภัยคีรี ก็ได้เข้าเยี่ยมและอบรมกรรมฐานให้กับเจ ในเรือนจำซาน เควนติน มลรัฐแคลิฟอร์เนีย
"...ตลอดเวลานับตั้งแต่อาตมาได้พบเจ จนกระทั่งถึงวันประหารเป็นเวลาสามวันนี้ อาตมาได้ตอบข้อสงสัย ข้อข้องใจของเจ โดยเฉพาะเรื่องอนัตตา เรื่องขันธ์ 5 และการปล่อยวาง และในคืนสุดท้าย อาตมาก็ได้ฝึกเขาในการทำจิตให้มั่นคง พร้อมที่จะรับความตายโดยไม่หวั่นไหว
...เรายังได้พูดถึงการปล่อยวาง ในความหมายที่เชื่อมโยงถึงการ 'การให้อภัย' และ 'อนัตตา' ถ้าเราไม่ให้อภัยคือเรายังยึดทุกข์ไว้ เราก็จะสร้างตัวตนขึ้นบนความทุกข์เรื่อยไป ไม่มีที่สิ้นสุด เมื่อเกิดมีตัวตนขึ้นเมื่อไร ทุกข์ก็เกิดขึ้นเมื่อนั้น มันเกี่ยวพันกันอยู่อย่างนี้ ถึงตอนนี้แล้วอาตมาก็ถามเจขึ้นมาว่า 'ยังมีใครอีกบ้าง ที่เจยังไม่ได้ให้อภัย' เจนั่งคิดอยู่ครู่หนึ่ง ก่อนจะตอบค่อยๆ ว่า 'ผมยังไม่สามารถให้อภัยตัวเองได้หมดใจ'
...พิธีศพมีอย่างเงียบๆ ในวันรุ่งขึ้น ทางเรือนจำนำศพเจใส่ไว้ในกล่องกระดาษ ก่อนหน้านั้นพี่สาวของเจขอดูศพ แต่ไม่ได้รับอนุญาตอาตมาไม่ทราบเรื่องนี้เลย จึงไปขอผู้อำนวยการเปิดฝากล่อง ศพของเจเปรียบได้กับครูกรรมฐานที่ให้แรงบันดาลใจอย่างมาก ใบหน้าของเขาดูสงบ ผ่องใส คล้ายมีรอยยิ้มจางๆ หลังจากประมวลเหตุการณ์ทั้งหมดแล้ว อาตมามั่นใจว่าเจไปดี"
อาจารย์กอล์ฟหรือ จิรยุทธ์ สินธุพันธุ์ ให้เหตุผลที่เลือกเรื่องนี้มาอ่านบทละครว่า "ตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้รับคำชวนให้มาอ่านสันติภาพก็นึกถึงหนังสือสองเล่มนี้ขึ้นมา เพราะปกติก็จะอ่านอยู่เสมอๆ เวลาที่มีความร้อนอยู่ในจิตใจหรือว่าภายในใจมันมีเรื่องเศร้าหมอง ทีนี้เวลาเราพูดถึงสันติภาพกัน เรามักจะพูดกันถึงแต่เรื่องใหญ่ๆ เลยอยากให้ลองกลับมาดูเรื่องของสันติภาพในใจว่ามันต้องเริ่มจากตัวของเรากันเองก่อน สมมติว่าจะทำอะไรบางอย่างเพื่อสังคม ถ้าเราไม่เย็นเองก่อนแล้ว สังคมก็จะเย็นตามไปด้วยไม่ได้"
และอีกนานาทัศนะของนักการละครที่ตีความถึงสันติภาพในความเห็นของตน เช่น วสุรัชต อุณาพรหม ที่เลือกสะท้อนสันติภาพผ่านบทเพลง 'You must love me' ในละครเรื่อง Evita ซึ่งเป็นบทเพลงที่สะท้อนถึงความคิดภายใน ความทรงจำ ความทะเยอทะยานที่จะมีชีวิตอยู่ โดยปรารถนาที่จะเป็นที่รักของอีวา เปรอง
เขาให้เหตุผลที่เลือกนำเสนอบทเพลงนี้ว่าจริงๆ แล้วใครฟัง you must love me ก็คงบอกว่าเป็นเพลงที่เพราะและน่าสงสาร แต่ตอนที่เขาพรินท์เนื้อออกมานั่งอ่าน เขากลับพบว่ามันมีอะไรซ่อนอยู่ในบทเพลงนี้เยอะมาก
"หลวงวิจิตรวาทการบอกไว้ว่าละครมันสร้างชาติ ...คือนักการเมืองมักจะใช้สื่อเพื่อสร้างภาพลักษณ์ ภาพที่เขาปรากฏ และเห็นทางจอทีวีหรือหนังสือพิมพ์นี้ จริงๆ แล้วไม่รู้ว่าเป็นตัวที่สร้างสันติภาพหรือทำลายสันติภาพ ตัวนักการเมือง ผู้นำ หรือตัวใครก็ตาม ผมว่าเขามีภาพเหมือนคาแรคเตอร์ในเรื่องนี้ คือเขาจะต้องรู้ตัวว่าตัวเองต้องทำยังไง ต้องมีนักสร้างสื่อที่รู้ว่าจะจับโมเมนต์หรือช่วงเวลาใดของเขาออกสู่ประชาชน"
เมื่อการอ่านบทละครสิ้นสุดลงในวันนั้น หลากความเห็นที่สะท้อนออกมาผ่านเรื่องเล่าเพื่อสื่อถึงคำว่า 'สันติภาพ' อาจไม่มีอะไรมากเกินไปกว่าให้เราหยุดพิจารณาถึงความหมายและวิธีการซึ่งแสดงออกถึงสันติภาพอีกครั้งว่า... จริงๆ แล้วอะไรคือสันติภาพอย่างแท้จริง...
ข้อมูลจาก
นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วรรณกรรม ฉบับ วันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน 2552
นสพ.กรุงเทพธุรกิจ วรรณกรรม ฉบับ วันอาทิตย์ที่ 8 พฤศจิกายน 2552
ภาพถ่ายจาก
พระจันทร์เสี้ยวการละคร
ถ่ายโดย: ไผ่
ถ่ายโดย: ไผ่
ดูเพิ่มเติมที่ http://www.artgazine.com/shoutouts/viewtopic.php?t=9598&sid=135136ca99c63a1daa3234e61651b67c
Friday, 20 November 2009
Purgatory new poster
โปสเตอร์แบบใหม่ของไฟล้างบาป
“ไฟล้างบาป"
เรื่องเพี้ยนๆของผู้หญิงสามคนที่พบว่าตัวเองตายและมาเจอกันในสถานที่ที่หนึ่ง ที่คาดเดาว่าคือนรก ทั้งสามคนต่างตั้งคำถามว่าทำไมพวกเธอจึงต้องมาที่นี่ เมื่อไม่ได้คำตอบ พวกเธอจึงร้องเรียกหาพระเจ้าแห่งโลกหลังความตาย ให้มาไขคำตอบและตัดสินว่าพวกเธอจะต้องอยู่ที่นี่ ไปสวรรค์ หรือ จะทำอย่างไรกับพวกเธอกันแน่?
"ไฟล้างบาป" เป็นละครที่พัฒนาจากโครงการ Mekong Performing Arts Laboratory 2006 ที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นโครงการฝึกฝนและแลกเปลี่ยนทักษะด้านการละครของศิลปินในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง แสดงครั้งแรกที่ Hong Ha Theatre ประเทศเวียดนาม เดือนกันยายน
กลับมาแสดงครั้งที่สอง ในงานเทศกาลละครกรุงเทพฯ 2006 ที่สวนสันติไชยปราการ ถนนพระอาทิตย์ และทัวร์ในอีก 10 มหาวิทยาลัยในปี 2007
กลับมาอีกครั้งเพื่อแสดงในงานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 ที่ประเทศกัมพูชา
แสดงโดย
สุมณฑา สวนผลรัตน์, ฟารีดา จิราพันธุ์,
ศรวณี ยอดนุ่น และ สินีนาฏ เกษประไพ
วันที่ 3 – 7 ธันวาคม 2552
รอบเวลา 19.30 น. (ความยาว 45 นาที)
บัตรราคา 250 บาท (นักเรียน, นักศึกษา 200 บาท)
เพียง 5 รอบเท่านั้น
ที่ Crescent Moon Space
โทร 081 259 6906 และ 083 995 6040
“ไฟล้างบาป"
เรื่องเพี้ยนๆของผู้หญิงสามคนที่พบว่าตัวเองตายและมาเจอกันในสถานที่ที่หนึ่ง ที่คาดเดาว่าคือนรก ทั้งสามคนต่างตั้งคำถามว่าทำไมพวกเธอจึงต้องมาที่นี่ เมื่อไม่ได้คำตอบ พวกเธอจึงร้องเรียกหาพระเจ้าแห่งโลกหลังความตาย ให้มาไขคำตอบและตัดสินว่าพวกเธอจะต้องอยู่ที่นี่ ไปสวรรค์ หรือ จะทำอย่างไรกับพวกเธอกันแน่?
"ไฟล้างบาป" เป็นละครที่พัฒนาจากโครงการ Mekong Performing Arts Laboratory 2006 ที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นโครงการฝึกฝนและแลกเปลี่ยนทักษะด้านการละครของศิลปินในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง แสดงครั้งแรกที่ Hong Ha Theatre ประเทศเวียดนาม เดือนกันยายน
กลับมาแสดงครั้งที่สอง ในงานเทศกาลละครกรุงเทพฯ 2006 ที่สวนสันติไชยปราการ ถนนพระอาทิตย์ และทัวร์ในอีก 10 มหาวิทยาลัยในปี 2007
กลับมาอีกครั้งเพื่อแสดงในงานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 ที่ประเทศกัมพูชา
แสดงโดย
สุมณฑา สวนผลรัตน์, ฟารีดา จิราพันธุ์,
ศรวณี ยอดนุ่น และ สินีนาฏ เกษประไพ
วันที่ 3 – 7 ธันวาคม 2552
รอบเวลา 19.30 น. (ความยาว 45 นาที)
บัตรราคา 250 บาท (นักเรียน, นักศึกษา 200 บาท)
เพียง 5 รอบเท่านั้น
ที่ Crescent Moon Space
โทร 081 259 6906 และ 083 995 6040
ความเปลี่ยนแปลงในไฟล้างบาป
ตอนนี้ผู้หญิง 4 คน กำลังเตรียมตัวเดินทางไปแสดง “ไฟล้างบาป” (PURGATORY) ในงานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 ระหว่างวันที่ 23 -27 พฤศจิกายน 2552 ณ กรุงพนมเปญ ประเทศกัมพูชา
หลังจากนั้นก็จะนำกลับมาแสดงเพียง 5 รอบเท่านั้น ที่ละครโรงเล็ก Crescent Moon space ในวีคแรกของเดือนธันวาคม
ละครเรื่องนี้เกิดขึ้นจากการทำงานร่วมกันของ จา ฟา จุ๋ม และ นาด จากโครงการ PETA Mekong Laboratory 2006 ที่เวียดนาม ที่เป็นการอบรมและแลกเปลี่ยนความรู้ด้านละครในประเด็นบทบาทชายหญิง แล้วก็กลับมาพัฒนาต่อ จัดแสดงในเทศกาลละครกรุงเทพ 2006 แล้วปีถัดมาคือปี 2007 เรานำไปทัวร์ในมหาวิทยาลัย 10 แห่ง
ในการแสดงครั้งนี้มีการเปลี่ยนแปลงบ้างนิดหน่อย เนื่องจาก จา เดินทางไปแสดง "สาวชาวนา" ที่โตเกียว เราจึงชวน โบ ศรวณี มาแสดงแทน โดยสลับบทให้โบแสดงเป็นรากแก้วแทนนาด ส่วน นาด จะแสดงในบทของจา
ลองคิดเล่นๆว่ามีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง
1.โบแสดงในบทของนาด
2.นาดแสดงแทนในบทของจา (ข้อ1 กับข้อ 2 พวกเธอก็แค่อยากจะเรื่องง่ายให้เป็นเรื่องยากซะยังงั้น)
3.ตอนนี้ทั้งสี่คนเป็นผู้หญิงผมสั้น (ผมสั้นมาแรง)
4.จากที่เคยแสดงในเวทีใหญ่ รวมทั้งเวทีหอประชุมจตุรมุขที่พนมเปญกว้างกว่า 10 เมตร (ประมาณ 18 เมตรมั้ง) แต่เราจะกลับมาแสดงในห้องเล็กๆ (เท่าแมวดิ้นตายอย่าง) Crescent Moon space ที่กว้างแค่ 6-7 เมตร
5.อายุของผู้หญิง 4 คนนี้ (หมายเหตุ ข้อนี้ห้ามถาม ถึงถามนักแสดงก็จะไม่ตอบ)
6.มีโปสเตอร์แบบใหม่ล่าสุด (มายืนครบกันทั้ง 4 คนซะที)
6.มีโปสเตอร์แบบใหม่ล่าสุด (มายืนครบกันทั้ง 4 คนซะที)
หากอยากรู้ว่าพวกเธอทั้ง 4 คน จะเปลี่ยนแปลงไปแค่ไหนอย่างไร ก็มาติดตามกันได้ในละคร "ไฟล้างบาป" วีคแรกของเดือนธันวาคมนี้ 5 รอบเท่านั้น เพราะหลังจากนั้นนักแสดงทั้งหมดจะแตกตัวไปปฏิบัติภาระกิจอื่น
Sunday, 15 November 2009
"ไฟล้างบาป" ละครเวทีในเดือนธันวาคม
พระจันทร์เสี้ยวการละคร ภูมิใจเสนอ การกลับมาอีกครั้งของ
ละครเวทีเรื่อง “ไฟล้างบาป"
เรื่องเพี้ยนๆของผู้หญิงสามคนที่พบว่าตัวเองตายและมาเจอกันในสถานที่ที่หนึ่ง ที่คาดเดาว่าคือนรก ทั้งสามคนต่างตั้งคำถามว่าทำไมพวกเธอจึงต้องมาที่นี่ เมื่อไม่ได้คำตอบ พวกเธอจึงร้องเรียกหาพระเจ้าแห่งโลกหลังความตาย ให้มาไขคำตอบและตัดสินว่าพวกเธอจะต้องอยู่ที่นี่ ไปสวรรค์ หรือ จะทำอย่างไรกับพวกเธอกันแน่?
"ไฟล้างบาป" เป็นละครที่พัฒนาจากโครงการ Mekong Performing Arts Laboratory 2006 ที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นโครงการฝึกฝนและแลกเปลี่ยนทักษะด้านการละครของศิลปินในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง แสดงครั้งแรกที่ Hong Ha Theatre ประเทศเวียดนาม เดือนกันยายน
กลับมาแสดงครั้งที่สอง ในงานเทศกาลละครกรุงเทพฯ 2006 ที่สวนสันติไชยปราการ ถนนพระอาทิตย์
และทัวร์ในอีก 10 มหาวิทยาลัยในปี 2007
กลับมาอีกครั้งเพื่อแสดงในงานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 ที่ประเทศกัมพูชา
และจะกลับมาแสดงอีกครั้ง
โดย
สุมณฑา สวนผลรัตน์, ฟารีดา จิราพันธุ์,
ศรวณี ยอดนุ่น และ สินีนาฏ เกษประไพ
แสดงวันที่ 3 – 7 ธันวาคม 2552
รอบเวลา 19.30 น. (ความยาว 45 นาที)
บัตรราคา 250 บาท (นักเรียน, นักศึกษา 200 บาท)
เพียง 5 รอบเท่านั้น
ที่ Crescent Moon Space
โทรจองบัตรได้ที่ 081 259 6906 และ 083 995 6040
ละครเวทีเรื่อง “ไฟล้างบาป"
เรื่องเพี้ยนๆของผู้หญิงสามคนที่พบว่าตัวเองตายและมาเจอกันในสถานที่ที่หนึ่ง ที่คาดเดาว่าคือนรก ทั้งสามคนต่างตั้งคำถามว่าทำไมพวกเธอจึงต้องมาที่นี่ เมื่อไม่ได้คำตอบ พวกเธอจึงร้องเรียกหาพระเจ้าแห่งโลกหลังความตาย ให้มาไขคำตอบและตัดสินว่าพวกเธอจะต้องอยู่ที่นี่ ไปสวรรค์ หรือ จะทำอย่างไรกับพวกเธอกันแน่?
"ไฟล้างบาป" เป็นละครที่พัฒนาจากโครงการ Mekong Performing Arts Laboratory 2006 ที่ฮานอย ประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นโครงการฝึกฝนและแลกเปลี่ยนทักษะด้านการละครของศิลปินในกลุ่มประเทศลุ่มน้ำโขง แสดงครั้งแรกที่ Hong Ha Theatre ประเทศเวียดนาม เดือนกันยายน
กลับมาแสดงครั้งที่สอง ในงานเทศกาลละครกรุงเทพฯ 2006 ที่สวนสันติไชยปราการ ถนนพระอาทิตย์
และทัวร์ในอีก 10 มหาวิทยาลัยในปี 2007
กลับมาอีกครั้งเพื่อแสดงในงานเทศกาล Mekong Arts and Media Festival 2009 ที่ประเทศกัมพูชา
และจะกลับมาแสดงอีกครั้ง
โดย
สุมณฑา สวนผลรัตน์, ฟารีดา จิราพันธุ์,
ศรวณี ยอดนุ่น และ สินีนาฏ เกษประไพ
แสดงวันที่ 3 – 7 ธันวาคม 2552
รอบเวลา 19.30 น. (ความยาว 45 นาที)
บัตรราคา 250 บาท (นักเรียน, นักศึกษา 200 บาท)
เพียง 5 รอบเท่านั้น
ที่ Crescent Moon Space
โทรจองบัตรได้ที่ 081 259 6906 และ 083 995 6040
Thursday, 5 November 2009
Freeze the Dream
ช่วงนี้เป็นช่วงไฮซีซันของวงการละครเวที หลังจากช่วง อ่านสันติภาพ เป็นต้นมา เรายุ่งกันมากจนไม่มีเวลาอัพเดท ขอติดบรรยากาศน่าประทับใจของ อ่านบทละคร อ่านสันติภาพ ไว้ก่อน วันนี้อัพเดทว่าละครโรงเล็กของเราเป็นส่วนหนึ่งของเทศกาลละครกรุงเทพ 2552 มีละครเรื่อง "ดับฝันวันขังเธอ" แสดงวันนี้เป็นวันแรก รายละเอียดดังนี้
New theatre Society นำเสนอละครเวทีเรื่องใหม่
กับ ผู้กำกับหน้าใหม่ ช่อลดา สุริยะโยธิน (ออยล์)
New theatre Society นำเสนอละครเวทีเรื่องใหม่
กับ ผู้กำกับหน้าใหม่ ช่อลดา สุริยะโยธิน (ออยล์)
หยุดฝันวันขังเธอ
Freeze the Dream
ก่อนวันขึ้นปีใหม่ ผู้หญิง 5 คนได้กระทำการจับผู้ชายขังไว้ในห้องน้ำ เพื่อล้างแค้น
บางคนถูกทิ้ง บางคนถูกหักหลัง เป็นเหตุให้เกิดเรื่องราวต่างๆมากมาย
ทั้งโหด มัน ฮา หวาน ซึ้ง เศร้า เคล้าปนกัน
สิ่งที่ผู้หญิงไม่เคยรู้ หรือผู้ชายไม่เคยได้ยิน ก็จะได้รับการเปิดเผยนะที่นี้
นำแสดงโดย
ปอรรัชม์ ยอดเณร , กุสุมา เทพารักษ์, เบญจวรรณ โอฬาร, อาภาวี เศตะพราหมณ์, ชณัตตาฎา ปฐมนุพงศ์ และ ต่อตระกูล จันทิมา
วันที่ 4-6 พ.ย. 52 เวลา 19.30 น.
วันที่ 7-8 พ.ย. 52 เวลา 14.00 น.
ณ Crescent Moon Space สถาบันปรีดี ซ. ทองหล่อ
บัตรราคา 300 บาท ทุกที่นั่ง
จองบัตรที่ 081-844 7828
วันที่ 7-8 พ.ย. 52 เวลา 14.00 น.
ณ Crescent Moon Space สถาบันปรีดี ซ. ทองหล่อ
บัตรราคา 300 บาท ทุกที่นั่ง
จองบัตรที่ 081-844 7828
Labels:
BTF 2009,
New Theatre Society
Subscribe to:
Posts (Atom)